กิจกรรมวันที่ 13-17 ธ.ค. 53

ตอบ ข้อ4
อธิบาย
 คนหมู่เลือด A +A = มีโอกาสได้ลูกเป็น หมู่เลือด A ,O
          
คนหมู่เลือด B+B = มีโอกาสได้ลูกเป็น หมู่เลือด B,O
          
คนหมู่เลือด AB+AB = มีโอกาสได้ลูกเป็น หมู่เลือด A ,AB ,B (ได้ทุกหมู่ ยกเว้น O)
          
คนหมู่เลือด O+O = มีโอกาสได้ลูกเป็น หมู่เลือด เท่านั้น
          
คนหมู่เลือด A+B = มีโอกาสได้ลูกเป็น หมู่เลือด เป็นได้ทุกหมู่
          
คนหมู่เลือด A+AB = มีโอกาสได้ลูกเป็น หมู่เลือด A ,AB ,B(ได้ทุกหมู่ ยกเว้น O)
          
คนหมู่เลือด B+AB = มีโอกาสได้ลูกเป็น หมู่เลือด A ,AB ,B(ได้ทุกหมู่ ยกเว้น O)
          
คนหมู่เลือด AB+O = มีโอกาสได้ลูกเป็น หมู่เลือด ได้ หรือ B
          
คนหมู่เลือด A+O = มีโอกาสได้ลูกเป็น หมู่เลือด หรือ O
          
คนหมู่เลือด B+O = มีโอกาสได้ลูกเป็น หมู่เลือด หรือ O
          
คนหมู่เลือด A+B = มีโอกาสได้ลูกเป็น หมู่เลือด A.,B,AB,O
               
แต่ถ้าเราสามารถระบุไปถึง ระดับยีนได้ ว่าเป็นตัวไหน ก็พยากรณ์ได้แคบลงตามตัวอย่างข้างบน (อาจจะดูได้โดยดูจากประวัติครอบครัว เช่น คนที่ หมู่ หรือ หมู่ ที่มาจาก พ่อแม่ ที่เป็น AB +AB ย่อมเป็น หมู่ที่มี ยีน AA หรือ หมู่ ที่มียีนBB เป็นต้น

ตอบ ข้อ2
อธิบาย
การปรับปรุงพันธุ์พืช เป็นการเลียนแบบธรรมชาติ โดยใช้ให้พืชผสมข้ามสายพันธุ์แล้วคัดเลือกพันธุ์ที่ดีที่สุดมาใช้แต่ตำแหน่งและการเรียงลำดับพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ) ของพืชยังคงสภาพเดิม ไม่มีการเปลี่ยนแปลง แม้จะมีการถ่ายสายพันธุกรรมจากพืชพันธุ์หนึ่งไปสู่พืช อีกพันธุ์หนึ่งก็ตาม
สำหรับการตัดแต่งพันธุกรรมคือ การนำเอายีนของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง เช่น พืช สัตว์ เชื้อแบคทีเรียหรือไวรัส ใส่ลงไปในสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง เพื่อให้การแสดง ออกของยีนของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ มีลักษณะเหมือนหรือคล้ายกับยีนของสิ่งมีชีวิตที่ใส่เข้าไปใหม่
ตัวอย่างเช่น การนำยีนของเชื้อไวรัสใส่เข้าไปในพืชเพื่อให้สามารถต้านทานเชื้อไวรัสได้ หรือต้านทานสารเคมีได้ เป็นต้น แต่ทำให้ตำแหน่งและลำดับของพันธุกรรมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
การตัดแต่งสายพันธุกรรมอาจทำให้เกิดผลที่ไม่สามารถคาดคิดได้ เพราะเป็นการกระทำที่ผิดธรรมชาติ ซึ่งทำให้ระบบการทำงานของสิ่งมีชีวิตผิดปกติไปจากเดิมการแสดงออกของยีนอาจทำให้เกิดปัญหาต่อลักษณะของพืชได้ เช่น เมื่อนำเอายีนที่สามารถต้านทานยาปฏิชีวนะใส่เข้าไปในพืชแทนที่พืชจะสามารถต้านทานโรคได้ดี ในทางตรงข้ามอาจทำให้พืชรับเชื้อโรคได้มากกว่าเดิมเพราะยีนที่ใส่เข้าไปรบกวนการทำงานระบบต้านทานโรคของพืช

ตอบ ข้อ2
อธิบาย
ลักษณะตาบอดสี  เป็นลักษณะที่ควบคุมด้วยยีนด้อย  กำหนดให้ c แทนแอลลีลที่ควบคุมลักษณะตาบอดสี และ C แทนแอลลีลที่ควบคุมลักษณะตาปกติยีนคู่นี้อยู่บนโครโมโซม X ดังนั้นสัญลักษณ์แทนยีนจึงเขียนเป็น  Xc และ  XC  สำหรับจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของลักษณะตาบอดสี 

ตอบ ข้อ1
อธิบาย
ไบรโอไฟต์ คือพืชบกทั้งหมดที่ไม่มีท่อลำเลียง: มันมีเนื้อเยื่อที่ล้อมรอบเป็นท่อคล้ายกับระบบท่อลำเลียง แต่ไม่มีเนื่อเยื่อส่วนท่อลำเลียงที่จะส่งผ่านของเหลว ไม่มีดอกและการสร้างเมล็ด ขยายพันธุ์ด้วยสปอร์ คำว่า bryophyte มาจากภาษากรีก βρύον -bruon, "ต้นมอสส์, สีเขียวหอยนางรม"

ตอบ ข้อ1
อธิบายไข้หวัดนก (อังกฤษAvian influenza หรือชื่อสามัญ bird flu) เป็นโรคที่เกิดจากไวรัสไข้หวัดใหญ่ชื่อ H5N1 ซึ่งพบได้ในสัตว์ปีก ค้นพบครั้งแรกในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในประเทศอิตาลี เรียกกันว่าไข้หวัดสเปน โรคนี้ระบาดอย่างหนักทั่วโลก


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น